ReadyPlanet.com
dot dot dot
dot


  [Help]
dot
dot
dot
bulletเสารับสัญญาณดิจิตอลทีวี (Digital Terrestrial Antenna : DVB T2)
bulletเครื่องรับสัญญาณทีวีดิจิตอล (Digital Terrestrial Receiver : DVB T2)
bulletงานระบบ ดิจิตอลทีวี (DIGITAL TV SYSTEM)
bulletอุปกรณ์แปลงสัญญาณ ระบบดิจิตอล (Converter Digital TV Signal)
dot
dot
bulletชุดติดตั้งบ้านพักอาศัย 1 จุด (Satellite Set for 1 point : C, KU)
bulletทีวีไทย 2 จุดขึ้นไป ( Satellite Set for 2 points up : C, Ku )
bulletชุดติดตั้งคอนโดฯ, โรงแรม, อพาร์ทเม้นต์ ( Satellite System for Hotel, Condo, Apartment or Resort etc.)
dot
dot
bulletหน้าจานดาวเทียม ( SATELLITE DISH )
bulletSATELLITE LNBF
bulletเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม (SATELLITE RECEIVER )
bulletอุปกรณ์ขับเคลื่อนจาน
bulletสายนำสัญญาณ ( Coaxial Cable )
bulletอะไหล่ดาวเทียม ( Accessories for Satellite )
bulletอุปกรณ์ขยายสัญญาณ ( Booster )
bulletอุปกรณ์รวมสัญญาณ ( Combine Signal )
bulletอุปกรณ์แปลงสัญญาณ ( Converter Signal )
bulletอุปกรณ์แยกสัญญาณ ( Splitter & Tap Off )
bulletสวิตช์ตัดต่อ ( Multi Switch & Diseq.C Switch )
bulletCONNECTOR
bulletอุปกรณ์เพิ่มจุดรับชม
bulletรีโมทคอนโทรล ( Remote Control for Receiver )
bulletขาแขวน TV ( LCD, LED Wall Mount )
bulletแผ่นเพลท, ชุดทำ DUO ( DUO Set and Plate )
bulletอุปกรณ์สำหรับการติดตั้ง (Accessories for Installation )
bulletเครื่องมือ, เครื่องวัด ( Equipment & Measurement )
bulletอุปกรณ์อื่น ๆ
bulletซื้อเป็นคู่
dot
dot
bulletกล้องวงจรปิด ( CCTV )
bulletสายนำสัญญาณ สำหรับกล้องวงจรปิด
bulletเครื่องบันทึกสัญญาณภาพ
bulletกล้องวงจรปิด
bulletชุด DVR + กล้อง
bulletเครื่องบันทึกสัญญาณภาพ DVR
bulletความรู้ เรื่องกล้องวงจรปิด
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
dot
dot
จำนวน : 0 ชิ้น
ราคา : 0.00
bullet ดูสินค้า
bullet ชำระเงิน
dot
dot
bulletPSI
bulletIDEA SAT
bulletINFOSAT
bulletเช็คค่าบริการไปรษณีย์




dot
ความแตกต่าง C-Band กับ Ku-Band

 

สัญญาณที่ส่งลงมา จากดาวเทียมที่สามารถรับในประเทศไทย ปัจจุบัน จะมีอยู่ 2 ระบบ คือ ระบบ C-Band และ KU-Band
ระบบ C-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 3.4-4.2 GHz แบบนี้จะมีฟุตปริ้นกว้างสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ได้หลายประเทศ ซึ่งสัญญาณดาวเทียมที่รับได้ จากต่างประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบนี้ แต่เนื่องจากสัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว้าง ความเข้มสัญญาณจะต่ำ จึงต้องใช้จานขนาด 4-10 ฟุต รับสัญญาณ ภาพจึงจะชัด (รายการส่วนใหญ่เป็นฟรีทีวีของแต่ละประเทศ และส่วนมากสามารถรับชมได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน )
ระบบ KU-Band จะส่งคลื่นความถี่กลับมายังโลกในช่วงความถี่ 10-12 GHz สัญญาณที่ส่งครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย ใช้กับการส่งสัญญาณภายในประเทศ ส่วนใหญ่ใช้กับระบบการให้บริการ เคเบิ้ลทีวี ภายในประเทศ ความเข้มสัญญาณจะสูง จึงใช้จานขนาดเล็ก 35-75 ซม. เช่น UBC (การรับทีวีผ่านดาวเทียมในระบบ KU-Band ส่วนใหญ่ต้องสมัครสมาชิกจึงจะรับชมได้)

 

C-Band & Ku-Band แตกต่างที่ตรงไหน


1. ความเข้มของสัญญาณในการส่ง C-Band จะเบากว่า Ku-Band เป็นเหตุผลในทางเทคนิค ตามข้อที่ 2
2. พื้นที่ครอบคลุมของสัญญาณ ( Beam Coverage Area) ระบบ C-Band จะใช้งานเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่รับสัญญาณได้กว้างขวางทั่วทั้งทวีป แต่ระบบ Ku-Band จะใช้เพื่อคลอบคลุมพื้นที่เฉพาะในประเทศ ในทางเทคนิคต้องส่งสัญญาณ C-Band ให้มีความเข้มของสัญญาณน้อยกว่า Ku-Band เพื่อไม่ให้เกิดการรบกวนกันได้
3. ลักษณะของใบจานรับสัญญาณ C-Band จะเป็นตะแกรงโปร่ง หรือทึบ ทรงกลม ขึ้นรูปพาราโบลิค ขนาดทั่วไปเส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 - 10 ฟุต ส่วน Ku-Band จะเป็นจานทึบ Offset รูปไข่ ขนาด 0.35 - 1.80 เมตร
4. ขนาดของจานรับสัญญาณดาวเทียม จากเหตุผลข้อที่ 1 ทำให้ระบบ Ku-Band สามารถใช้ใบจานขนาดเล็กกว่า C-Band ค่อนข้างมาก ตัวอย่างเช่น UBC จะใช้ใบจาน offset ขนาด 35 - 75 ซม. ก็สามารถรับสัญญาณได้ดี ในขณะที่ระบบ C-Band ต้องใช้จานขนาดใหญ่กว่าถึง 2-3 เท่า เพื่อให้รับสัญญาณได้ดี
5. ลักษณะของแผ่นสะท้อนของใบจาน ระบบ Ku-Band จะเป็นโลหะแผ่นเรียบจะเป็นอลูมีเนียม หรือ เหล็กชุบสี ในขณะที่ C-Band ส่วนใหญ่จะเป็นตะแกรงปั้มเป็นรูเล็กๆ จาน C-Band จานแบบทึบมีให้เห็นบ้างแต่น้อยมาก และไม่เป็นที่นิยม เนื่องจากน้ำหนักมาก และต้านลม แล้วถ้าหากว่า จะใช้จานแบบ C-Band รับสัญญาณระบบ Ku-Band ได้มั้ย ตอบว่าได้แต่ในทางกลับกันจะเอาจาน Ku-Band มารับสัญญาณ C-Band ไม่ได้ นอกจากจะใช้จานขนาดใหญ่จริง ๆ
6. หัวรับสัญญาณ ซึ่งในทางเทคนิคเรียกว่า LNBF (Low Noise Block Down Frequency) เป็นตัวแปลงสัญญาณความถี่สูงให้ตำลงมาจนเหมาะสมกับภาครับของเครื่องรับสัญญาณ (Receiver) ซึ่งระบบ C-band จะรองรับความถี่ 3.4-4.2 GHz ในขณะที่ Ku-Band รองรับความถี่ 10-12 GHz จึงใช้แทนกันไม่ได้ อาจมีบางรุ่นที่ทำแบบ 2 in 1 คือ เอาหัว 2 ระบบบรรจุไว้ใน Case เดียวกัน
7. เครื่องรับสัญญาณ (Receiver) โดยทั่วไปไม่แตกต่างกันนอกจากผู้ผลิตจะเจตนาให้ตัวเครื่องรับได้เฉพาะระบบ เช่น เครื่องรับสัญญาณของ UBC จะไม่สามรถนำมาใช้รับสัญญาณระบบ C-Band ได้ โดยทั่วไปเครื่องรับสามารถรับสัญญาณได้ทั้ง 2 ระบบ เพียงตั้งค่า LNBF ให้ถูกต้องเท่านั้นเอง

ข้อควรรู้เพิ่มเติม คือ ระบบ Ku-Band เป็นระบบที่ส่งสัญญาณด้วยความถี่สูง ซึ่งจะมีปัญหาการรับสัญญาณในขณะฝนตกหนัก การเพิ่มขนาดใบจานอาจช่วยได้บ้างแต่ถ้าฝนตกหนัก เมฆหนาทึบ จะรับสัญญาณไม่ได้ ในขณะที่ C-Band จะเหนือกว่าตรงที่ไม่มีปัญหาขณะฝนตก

 




คู่มือการใช้งาน

การใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ
การติดตั้งจาน
หนังสือ, คู่มือ
ประสบการณ์
หลักการเลือกซื้อรีซีฟเวอร์
เลือกชุดจานดาวเทียมแบบไหนดี
ตารางมุมก้มเงย จานฟิกซ์
รูปแบบการต่อหัวพ่วงรับรายการ



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

Satplanets.com
ที่อยู่ :  เลขที่ 212 ซอย สวนสยาม24 แขวง : คันนายาว เขต : คันนายาว
จังหวัด : กรุงเทพฯ      รหัสไปรษณีย์ : 10230
เบอร์โทร :02-9181991; 080-6140349, 084-1456900     แฟกซ์ :02-9181991;
อีเมล : info.satplanets@gmail.com
เว็บไซต์ : www.satplanets.com